ปัจจุบันผมเขียน React อยู่แต่มีข้อเสียอยู่จุดนึง คือมันไม่สนับสนุน SEO มากนัก ซึ่งมันจะต้องใช้การทำ Server-side rendering (SSR) คือไปพ่น HTML ฝั่ง Server เพื่อให้ Bot มันไต่เว็บเพื่อเก็บมา Index นั่นเอง ซึ่งถ้าเป็น React คงต้อง config ต่างๆมากมายกว่าจะได้ออกมา
หลังจากใช้ Docker ใช้งานมาได้สักระยะ เลยคิดว่าทำบล็อกขึ้นมาเหมือนกับที่เคยเขียนบล็อก การใช้คำสั่ง Git เลยดีกว่า เพราะบางคำสั่งดูแล้วถ้าไม่ได้ใช้นานๆเข้าอาจจะลืม ไว้ทั้งสำหรับตัวเองกลับมาดูและสำหรับคนอื่นทั่วไปด้วยเลยแล้วกัน
พอดีใน App ที่เขียนโดย React มีต้องใช้การแปลง Object ไปเป็น Query String Parameters สำหรับใช้ใน URL อีกที เลยมาเขียน Blog วิธีทำไว้อีกครั้ง
CloudFlare คือ ผู้ให้บริการ CDN (Content Delivery Network) ซึ่งมีทั้งแบบฟรีและแบบเสียเงิน มี Server หลายแห่งทั่วโลก ประโยชน์หลักที่ได้รับคือเรื่อง Performance และ Security
Node.js จำเป็นสำหรับการใช้ร่วมกับ JavaScript และใช้สร้าง server-side JavaScript applications ในบทความนี้จะมาเขียนวิธีติดตั้ง Node.js บนเครื่อง Mac ครับ
หลังจากเขียน React โดยใช้ Create React App มาสักระยะ จึงมาบันทึกวิธีการติดตั้งเพื่อใช้งานไว้อีกครั้ง เหตุผลที่ใช้มันก็เพื่อลดขั้นตอนการ Config ต่างๆ อาทิเช่น Webpack, Babel หรืออื่นๆที่เกี่ยวข้อง
โดยปกติโปรแกรมเมอร์มักจะใช้ Terminal ในการพิมพ์คำสั่งต่างๆ เพื่อใช้งานบน Mac อาทิบ่อยๆ อาทิเช่น cd เพื่อเข้าไปยัง Directory ต่างๆ หรือแม้กระทั่ง ssh เพื่อ Remote เข้า Server เป็นต้น ส่วนตัวแล้วผมมักจะจำ Path หรือ IP ไม่ได้ ! ก็เลยต้องอาศัยการตั้งคำสั่งเฉพาะแทนเพื่อให้สั้นกระชับ
ไฟล์ .gitignore คือไฟล์ที่บอกว่า ไฟล์หรือโฟลเดอร์ไหนบ้างที่จะ Untrack ไม่ต้องนำขึ้น git repository ทีนี้มีบางครั้งที่เราอาจจะมีการแก้ไข หลัง push ทุกสิ่งอย่างขึ้น git repository ไปแล้ว
สำหรับ Angular บางครั้งได้ Project เดิมมา แล้วอาจจะใช้คำสั่ง ng (Angular CLI) ไม่ได้ โดยจะขึ้นแจ้งเตือนประมาณด้านล่างนี้
Log Viewer ใช้สำหรับแสดง Error Log ใน Laravel 5 ส่วนตัวที่เลือกเพราะ UI เรียบง่าย และแค่ไว้ช่วย Debug บน Production เท่านั้น ซึ่งมีความสามารถเพียงพอสำหรับการใช้งาน คือ แสดงรายการ Log , เลือกจำนวนแถวแสดงต่อหน้า , ค้นหา และสามารถลบไฟล์ Log ได้ เมื่อเริ่มใหญ่หรือแก้ปัญหานั้นไปแล้ว
การทำระบบ Authentication หรือระบบที่ต้อง Login เข้าใช้งาน สำหรับ Laravel นั้นจะมีเครื่องมือที่ช่วยให้เราสร้าง ระบบ Register , Login , Logout ,Permission และ Forgot Password
โดยปกติ Laravel จะมีแจ้งพวกข้อผิดพลาดเบื้องต้นอยู่แล้ว แต่บางครั้งมัน Debug ยาก เพราะจะมี Error บอกโดยรวม เลยไม่รู้ว่าอยู่บรรทัดไหน แต่มีคนทำ Laravel Debugbar ให้ใช้งานซึ่งจะบาร์ลอยอยู่ด้านล่างของเว็บไซต์ และ Debug ได้หลายจุด